Tenten Maru

อักษรฮิรางานะเตนเตน

เครื่องหมาย "เตนเตน” " เป็นสัญลักษณ์เพิ่มพยางค์ตัวอย่างของญี่ปุ่นเพื่อทำให้พยางค์ใหม่มีเสียงแตกต่างกัน
เราสามารถเพิ่มเครื่องหมาย "เตนเตน” " ต่อท้ายด้านบนของอักษรหมวก K, S, T และ H ของพยางค์ภาษาญี่ปุ่นเพื่อเปลี่ยนพยางค์จากเดิมเป็นเสียงอื่น โดย
K ออกเสียงเป็น G
 ออกเสียงเป็น  Z
 ออกเสียงเป็น  D
 ออกเสียงเป็น  B
G : 
Ga : กะ
Gi : กิ
Gu : กึ
Ge : เกะ
Go : โกะ
Z : 
Za : ซะ
Ji : จิ
Zu : ซึ
Ze : เซะ
Zo : โซะ
D : 
Da : ดะ
Ji : จิ
Zu(Du) : ซึ
De : เดะะ
Do : โดะ
B : 
Ba : บะ
Bi : บิ
Bu : บึ
Be : เบะ
Bo : โบะ

ยกตัวอย่างเช่น

がっこう
gakko
โรงเรียน
ぎかい
gikai
รัฐสภา
ぐち
guchi
บ่น
げんじつ
genjitsu
ความจริง
ごはん
gohan
ข้าว

อ่านฮิรางานะเตนเตน มารุ

ฮิรางานะที่รวมกับมารุ

เครื่องหมาย "มารุ” " เป็นสัญลักษณ์เพิ่มเสียงจะมีเพียงหมวด H เมื่อเติมมารุต่อท้ายจะออกเสียงเป็น P

P :
Pa : พะ
Pi : พิ
Pu : พึ
Pe : เพะ
Po : โพะ

เช่น
ぱじんこ
pajinko
ปาจิงโกะ
ぴくぴくする
pikupikusuru
กระตุก
てんぶら
tenpura
เทมปุระ
かんぺき
kanpeki
สมบูรณ์
かんぽう
kanpou
การแพทย์แผนจีน

ตัวอักษรฮิรางานะ

ฮิรางานะ(Hiragana)

ตัวอักษรฮิรางานะมาจากความต้องการประยุกษ์วิธีการใช้ตัวอักษรคันจิให้เข้าใจง่าย โดยใช้ฮิรางานะ 46 ตัวอักษรแสดงเสียงใดเสียงหนึ่ง ซึ่งการใช้ตัวอักษรฮิรางานะจะใช้เป็นวรรค และแถว ดังนี้
A :
a : อะ
i : อิ
u : อึ
e : เอะ
o : โอะ
K :
Ka : คะ
Ki : คิ
Ku : คึ
Ke : เคะ
Ko : โคะ
S :
Sa : ซะ
Shi : ซิ
Su : ซึ
Se : เซะ
So : โซะ
T :
Ta : ทะ
Chi : ชิ
Tsu : สึท
Te : เทะ
To : โทะ
N :
Na : นะ
Ni : นิ
Nu : นึ
Ne : เนะ
No : โนะ
H :
Ha : ฮะ
Hi : ฮิ
Fu : ฟึ
He : เฮะ
Ho : โฮะ
M :
Ma : มะ
Mi : มิ
Mu : มึ
Me : เมะ
Mo : โมะ
Y :
Ya : ยะ

Yu : ยึ

Yo : โยะ
R :
Ra : ระ
Ri : ริ
Ru : รึ
Re : เระ
Ro : โระ
W :
Wa : วะ



Wo : โวะ
N :
N : น,ง,ม






ตารางการอ่านอักษรฮิรางานะภาษาไทย


ฮิรางานะ

ฮิรางานะ ひらがな (Hiragana):

  • เสียงสำหรับแต่ละตัวอักษรและตัวอย่างการเขียนและเสียงของคำฮิระงะนะ
  • ตารางที่ 1 ตัวอักษรฮิรางานะ あ ~ ん
  • ตารางที่ 2 เครื่องหมายกำกับ が ~ ぼ
  • ตารางที่ 3 เสียงควบ きゃ ~ び
  • ฝึกเขียนฮิรางานะ
  • ใหญ่: あ ~ と; な ~ よ; ら ~ ん; が ~ ど; ば ~ ぽ; きゃ ~ みょ; りゃ ~ ぴ
  • ปานกลาง: あ ~ の; は ~ ん; が ~ ぽ; きゃ ~ ぴょ;
  • เล็ก: あ ~ ん (ฝึกซ้อม 3 ครั้ง) あ ~ ぽ (ฝึกซ้อม 2 ครั้ง) が ~ ぴょ
  • 343 ฮิรางานะ: あ ~ の (พร้อมเสียง: ฟังและระบุตัวอักษรฮิระงะนะที่ถูกต้องจากกลุ่มตัวอักษรฮิระงะนะที่คล้ายกัน) 
  • 344 ฮิระงะนะ: は ~ ん (พร้อมเสียง: ฟังและระบุตัวอักษรฮิระงะนะที่ถูกต้องจากกลุ่มตัวอักษรฮิระงะนะที่คล้ายกัน)
  • 342 ฮิรางานะ: あ ~ ん (พร้อมเสียง: ฟังและระบุตัวอักษรฮิระงะนะที่ถูกต้องจากกลุ่มตัวอักษรฮิระงะนะที่คล้ายกัน)
  • 345 ฮิรางานะ: きゃ ~ ぴょ (พร้อมเสียง: ฟังและระบุตัวอักษรฮิระงะนะที่ถูกต้องจากกลุ่มตัวอักษรฮิระงะนะที่คล้ายกัน)
  • 347 ฮิระงะนะ: ชื่อของสิ่งมีชีวิต (พร้อมเสียง: เลือกการสะกดที่ถูกต้องในฮิระงะนะ)
  • 346 ฮิระงะนะ: ชื่อของสิ่งมีชีวิต (พร้อมเสียง: ฟังและพิมพ์ฮิรางานะ)
  • 368 ฮิระงะนะ: วลีทั่วไป (พร้อมเสียง: เลือกการสะกดที่ถูกต้องในฮิระงะนะ)
  • 348 JPN601D ひらがなのう # 1
  • 350 JPN601D # 2 (Roomaji -> Hiragana): เลือกคำฮิระงะนะที่ถูกต้อง
  • 349 JPN601D # 2 (เสียง -> ฮิรางานะ): เลือกคำฮิระงะนะที่ถูกต้อง
  • ひらがなのれれう: การเขียนบทฮิรางานะ # 1 (Roomaji -> Hiragana) あ ~ ん (pdf) |こたえ |
  • การเขียนบทที่ 2 (Roomaji -> Hiragana) あ ~ ぴょ (pdf) | ひららがなのこたえ |
  • พบข้อผิดพลาดที่เป็นไปได้หรือไม่? พบการสะกดผิดหรือไม่?
  • กรุณาเขียน "n.suito アット austin.utexas.edu" (แทนที่ "アット" ด้วย "@")
  • โปรดใส่ URL, ชื่อแบบทดสอบและคำถาม #
  • หากคุณเป็นนักเรียน UT และทำแบบทดสอบสำหรับการมอบหมายงานในชั้นเรียนของคุณโปรดระบุไว้ ฉันจะพยายามแก้ไขปัญหาโดยเร็วที่สุด
  • ค้นหาคำ (ต้องใช้ Flash Player)
  • アニメさっえ (ชื่อผู้สร้างอะนิเมะ)
  • ระดับ 1 (ธนาคารคำในฮิรางานะ); เวอร์ชันสำหรับพิมพ์
  • ระดับ 2 (ธนาคารคำใน Roomaji); เวอร์ชันสำหรับพิมพ์
  • ระดับ 3 (ธนาคารคำในเสียง)

  • 宮崎はやおメ (ชื่อของตัวละครและชื่อ)
  • ระดับ 1 (คำในฮิรางานะ)
  • ระดับ 2 (คำใน Roomaji)
  • ระดับ 3 (คำในเสียง)

ตัวอักษรญี่ปุ่น


เรียนภาษาญี่ปุ่นฟรี

ยินดีต้อนรับเข้าสู่การเริ่มต้นเรียนภาษาญี่ปุ่นฟรีด้วยการเรียนรู้กับอักษรภาษาญี่ปุ่น
เริ่มด้วยการรู้จักตัวอักษรญี่ปุ่นทั้ง 3 ชนิดคือ
  1. คันจิ (Kanji)
  2. ฮิรางานะ (Hiragana)
  3. คาตากานะ (Katagana)

คันจิ (Kanji) 

เป็นตัวอักษารแบบแรกในญี่ปุ่นที่ได้รับอิทธิพลดัดแปลงมาจากตัวอักษรจีน บางตัวอักษรญี่ปุ่นประดิษฐ์ขึ้นเอง บางตัวอักษรความหมายก็แตกต่างกับภาษาจีนอย่างสิ้นเชิง หากผู้มีความรู้ภาษาจีนมาก่อนจะทราบดีว่า ตัวอักษรจีนนั้นเป็นตัวอักษรภาพ ต้องจำเท่านั้นถึงจะเข้าใจความหมายหรืออ่านออกเสียงว่าคำไหนอ่านว่าอย่างไร หมายถึงอะไร ตัวอักษรคันจิที่ใช้ในชีวิตประจำวันของญี่ปุ่นมีจำนวนมากถึง 2,136 จึงต้องค่อยๆ ฝึกและจดจำกันไป แม้แต่คนญี่ปุ่นเองยังต้องใช้เวลาในการใช้คันจิอย่างถูกต้องเช่นกัน


ฮิรางานะ(Hiragana)

ตัวอักษรฮิรางานะมาจากความต้องการประยุกษ์วิธีการใช้ตัวอักษรคันจิให้เข้าใจง่าย โดยใช้ฮิรางานะ 46 ตัวอักษรแสดงเสียงใดเสียงนึ่ง ซึ่งการใช้ตัวอักษรฮิรางานะจะใช้เป็นวรรค และแถว ดังนี้
A : 
a : อะ
i : อิ
u : อุ
e : เอะ
o : โอะ
K : 
Ka : คะ
Ki : คิ
Ku : คุ
Ke : เคะ
Ko : โคะ
S : 
Sa : ซะ
Shi : ซิ
Su : ซุ
Se : เซะ
So : โซะ
T : 
Ta : ทะ
Chi : ชิ
Tsu : สึ
Te : เทะ
To : โทะ
N : 
Na : นะ
Ni : นิ
Nu : นุ
Ne : เนะ
No : โนะ
H : 
Ha : ฮะ
Hi : ฮิ
Fu : ฮุ
He : เฮะ
Ho : โฮะ
M : 
Ma : มะ
Mi : มิ
Mu : มุ
Me : เมะ
Mo : โมะ
Y : 
Ya : ยะ

Yu : ยุ

Yo : โยะ
R : 
Ra : ระ
Ri : ริ
Ru : รุ
Re : เระ
Ro : โระ
W : 
Wa : วะ



Wo : โวะ
N : 
N : น,ง,ม





เรียนภาษาญี่ปุ่นฟรี

อักษรฮิรางานะมารุ,เตนเตน
G : 
Ga : กะ
Gi : กิ
Gu : กุ
Ge : เกะ
Go : โกะ
Z : 
Za : ซะ
Ji : จิ
Zu : ซุ
Ze : เซะ
Zo : โซะ
D : 
Da : ดะ
Ji : จิ
Zu(Du) : ซึ
De : เดะะ
Do : โดะ
B : 
Ba : บะ
Bi : บิ
Bu : บุ
Be : เบะ
Bo : โบะ
P : 
Pa : พะ
Pi : พิ
Pu : พุ
Pe : เพะ
Po : โพะ

คาคากานะ Katakana

ตัวอักษรคาตากานะ มีหน้าที่เดียวกันกับฮิรางานะ คือช่วยให้อ่านได้ง่ายขึ้นใช้สำหรับทับศัพท์คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น 
Bangkok : bankoku : バンコク 
America : amerika : アメリカ
Hotel : Hoteru :ホテル
เป็นต้น ซึ่งตัวอักษรคาตากานะ ตัวจะมี เสียงเช่นเดียวกันกับฮิรางานะ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยการจดจำ รวมไปถึงการผสมคำด้วยรูปแบบเดียวกันกับฮิรางานะ
A : 
a : อะ
i : อิ
u : อุ
e : เอะ
o : โอะ
K : 
Ka : คะ
Ki : คิ
Ku : คุ
Ke : เคะ
Ko : โคะ
S : 
Sa : ซะ
Shi : ซิ
Su : ซุ
Se : เซะ
So : โซะ
T : 
Ta : ทะ
Chi : ชิ
Tsu : สึ
Te : เทะ
To : โทะ
N : 
Na : นะ
Ni : นิ
Nu : นุ
Ne : เนะ
No : โนะ
H : 
Ha : ฮะ
Hi : ฮิ
Fu : ฮุ
He : เฮะ
Ho : โฮะ
M : 
Ma : มะ
Mi : มิ
Mu : มุ
Me : เมะ
Mo : โมะ
Y : 
Ya : ยะ

Yu : ยุ

Yo : โยะ
R : 
Ra : ระ
Ri : ริ
Ru : รุ
Re : เระ
Ro : โระ
W : 
Wa : วะ



Wo : โวะ
N : 
N : น,ง,ม






อักษรคาตากานะมารุ,เตนเตน
G : 
Ga : กะ
Gi : กิ
Gu : กุ
Ge : เกะ
Go : โกะ
Z : 
Za : ซะ
Ji : จิ
Zu : ซุ
Ze : เซะ
Zo : โซะ
D : 
Da : ดะ
Ji : จิ
Zu(Du) : ซึ
De : เดะะ
Do : โดะ
B : 
Ba : บะ
Bi : บิ
Bu : บุ
Be : เบะ
Bo : โบะ
P : 
Pa : พะ
Pi : พิ
Pu : พุ
Pe : เพะ
Po : โพะ